เงินเฟ้อ เงินเฟ้อปัจจุบัน เงินเฟ้อ สาเหตุ เงินเฟ้อ แก้ไข เงินเฟ้อเงินฝืด เงินเฟ้อไทย อัตราเงินเฟ้อ ภาวะเงินเฟ้อ บทความเงินเฟ้อ
เงินเฟ้อสำนักข่าวบลูมเบิร์กรายงานเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2565 ว่า คริสติน ลาการ์ด (Christine Lagarde)เงินเฟ้อปัจจุบันประธานธนาคารกลางยุโรป (ECB) กล่าวในการประชุมที่จัดโดยธนาคารแห่งประเทศไทยและธนาคารเพื่อการชำระหนี้ระหว่างประเทศ (BIS) ว่า การคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อจะยังคงตรึงไว้ และประชาชนจำเป็นต้องรู้ว่าการเพิ่มขึ้นของเงินเฟ้อจะถูกนำกลับไปสู่เป้าหมาย “จากความไม่แน่นอนที่ไม่ธรรมดานี้ สิ่งที่ธนาคารกลางต้องทำ คือการส่งมอบนโยบายการเงินที่ยึดความคาดหวังไว้ ดังนั้นความคาดหวังเหล่านั้นจึงยังคงอยู่ที่เป้าหมาย”
เงินเฟ้อปัจจุบัน
ลาการ์ดกล่าวเพิ่มเติมว่า “เราจำเป็นต้องส่งสัญญาณต่อสาธารณะ ต่อผู้สังเกตการณ์ เงินเฟ้อ สาเหตุต่อผู้วิจารณ์ว่า ในทุกสถานการณ์ อัตราเงินเฟ้อจะกลับสู่เป้าหมายระยะกลางในเวลาที่เหมาะสม นี่เป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่สามารถทำได้ในสภาพแวดล้อมปัจจุบัน” บทความเงินเฟ้อทั้งนี้ทุกสายตาจับจ้องไปที่การประชุม ECB รอบสุดท้ายของปีในวันที่ 14-15 ธันวาคม 2565 ซึ่งเจ้าหน้าที่จะตัดสินใจว่าจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเป็นครั้งที่ 3 ติดต่อกันที่ 0.75% หรือปรับขึ้นเป็น 0.50% ขณะที่อัตราเงินเฟ้อในเดือนที่แล้วชะลอตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 1 ปีครึ่ง
เงินเฟ้อ สาเหตุ
ขณะที่เมื่อต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา คริสติน ลาการ์ด กล่าวว่าจะต้องประหลาดใจหากการเติบโตของเงินเฟ้อถึงจุดสูงสุด เงินเฟ้อ แก้ไขผู้กำหนดนโยบายของ ECB บางคนเตือนว่าอย่ายุตินโยบายการเงินที่ดำเนินการอยู่ในขณะนี้เพื่อดึงอัตราเงินเฟ้อให้กลับมาอยู่ภายใต้การควบคุมก่อนเวลาอันควร ขณะเดียวกันในวันนี้ (2 ธ.ค.2565) ที่กรุงเทพฯ ลาการ์ดเตือนว่าแนวโน้มจะยังคงไม่แน่นอนไปอีกระยะหนึ่ง เรากำลังเผชิญกับช่วงเวลาที่ท้าทายอย่างยิ่ง ส่วนการแข็งค่าของเงินดอลลาร์ส่งผลกระทบต่อเขตยูโรน้อยกว่าที่มีผลกระทบต่อประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่
เงินเฟ้อ แก้ไข
“เราไม่ได้กำหนดเป้าหมายอัตราแลกเปลี่ยนใดๆ เห็นได้ชัดว่ากำลังติดตามและให้ความสนใจอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกำลังติดตามอย่างรอบคอบว่าอะไรที่ทำให้ค่าเงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้น” คริสติน ลาการ์ด เงินเฟ้อเงินฝืดกล่าวเสริมว่านโยบายการคลังแบบชั่วคราว มีเป้าหมาย และปรับเปลี่ยนได้ สามารถมีบทบาทสำคัญในการรองรับยุโรปจากวิกฤติพลังงาน “โดยนโยบายการคลังแบบชั่วคราว มีเป้าหมาย และปรับเปลี่ยนได้ สามารถช่วยบรรเทาแรงกระทบต่างๆ และจำกัดการคาดการณ์เงินเฟ้อ ซึ่งนโยบายการคลังที่สร้างอุปสงค์ส่วนเกินในประเทศที่มีข้อจำกัดด้านอุปทาน อาจบีบให้นโยบายการเงินต้องเข้มงวดมากกว่าที่จำเป็น และน่าเสียดายที่อย่างน้อยที่สุดในขณะนี้ มาตรการทางการคลังบางอย่างที่วิเคราะห์จากรัฐบาลในเขตยูโรหลายแห่งกำลังชี้ไปที่ประเภทหลังมากกว่าประเภทแรก”
เงินเฟ้อเงินฝืด
อัตราแลกเปลี่ยนคืออะไร ? อัตราแลกเปลี่ยนคือ ‘ราคา’ เงินเฟ้อไทยของเงินสกุลหนึ่งเทียบกับเงินสกุลอื่น เช่น ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาทเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ อยู่ที่ 25 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ แสดงว่า เงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ จะแลกเงินบาทได้ 25 บาท หรือเงิน 1 บาท จะแลกเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ได้ 0.04 ดอลลาร์สหรัฐฯ นั่นเอง เมื่อเราฟังข่าว หากเราได้ยินคำว่าเงินบาท ‘แข็งค่า’ นั่นแปลว่าเงินบาทมีราคาแพงขึ้นเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่น เช่น เงินบาทแข็งค่าขึ้นจาก 25 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ เป็น 20 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ หากเราได้ยินคำว่าเงินบาท ‘อ่อนค่า’ นั่นแปลว่าเงินบาทมีราคาถูกลงเมื่อเทียบกันเงินสกุลอื่น เช่น เงินบาทอ่อนค่าลงจาก 25 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ เป็น 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ
เงินเฟ้อไทย
ธปท. กับนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน แม้ว่า ธปท. อัตราเงินเฟ้อไม่ได้ใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนคงที่เหมือนในอดีต แต่ไม่ได้หมายความว่า ธปท. ไม่ได้บริหารจัดการเรื่องอัตราแลกเปลี่ยนเลย ปัจจุบัน ธปท. ใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ (managed float) โดยค่าเงินบาทถูกกำหนดโดยกลไกตลาด และ ธปท.ภาวะเงินเฟ้อ จะเข้าดูแลในกรณีที่ค่าเงินบาทผันผวนมากเกินไป เนื่องจากการที่เงินบาทแข็งค่าหรืออ่อนค่าเร็วเกินไป หรือเคลื่อนไหวไม่สอดคล้องกับปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจนั้น จะส่งผลกระทบให้ภาคเอกชนปรับตัวไม่ทัน รวมถึงกระทบต่อการวางแผนใช้จ่ายและลงทุนของธุรกิจเงินเฟ้อ
เครดิต www.moneyandbanking.co.th
ข่าวแนะนำ